ตัวอย่างเช่น แทนที่จะผลิตได้ 400 คิวต่อรอบ อาจจะได้เพียง 100 คิวต่อรอบเท่านั้น เนื่องจากเมื่อมีความกระด้างหลุดออกมาได้เพียงนิดเดียวก็จะทำให้น้ำยาที่เราหยดลงไปในน้ำตัวอย่างเพื่อการตรวจสอบค่าความกระด้างนั้นเปลี่ยนสีได้แล้ว ซึ่งทำให้เราต้องหยุดและทำการล้างย้อนถี่ขึ้น หากเป็นโรงอื่นที่ตั้งค่าความกระด้างที่ยอมรับได้ไว้สูงก็ยังสามารถผลิตน้ำอ่อนต่อไปได้จนค่าความกระด้างสูงถึงค่าที่ตั้งไว้เช่น 10 – 20 ppm แต่โรงงานนี้รีเจคแล้ว จึงต้องทำการล้างเรซิ่นแล้ว (เราสามารถตรวจสอบค่าความกระด้างของน้ำที่ผลิตได้โดยการหยดน้ำยาที่เราผสมสารเคมีไว้เพื่อให้มีการเปลี่ยนสีเมื่อน้ำตัวอย่างมีค่าความกระด้างสูงกว่าค่าที่เรากำหนดไว้ ซึ่งค่าความกระด้างที่เรากำหนดไว้นี้จะเป็นไปตามความเข้มข้นและชนิดของน้ำยาที่เราผสมไว้ใช้ตรวจสอบ) ซึ่งในเรื่องของประสิทธิภาพนั้นเราจะต้องพิจารณาที่ความสามารถในการผลิตน้ำอ่อน คือต้องดูไซเคิลของมันว่ารอบหนึ่งสามารถผลิตน้ำอ่อนได้ปริมาณมากน้อยเพียงใด และจะต้องดูปริมาณการใช้เกลือด้วยว่ามีการใช้มากน้อยเพียงใดด้วย โดยดูอัตราการใช้เกลือในหน่วยของ กิโลกรัมเกลือที่ใช้ / กิโลกรัมของความกระด้างหรือ ฮาร์ดเนสที่สามารถกำจัดออกไปได้ ในเรื่องความถี่ในการตรวจวัดนั้น จากในภาพซึ่งเป็นเส้นกร๊าฟจะเห็นว่าแกนนอนเป็นเวลา แกนตั้งเป็นปริมาณความกระด้าง ถ้าโรงงานทำการตรวจวัดวันละครั้งโดยส่งตัวอย่างน้ำไปวิเคราะห์ที่ห้องแลบก็มีโอกาสที่จะเจอสภาพที่ความกระด้างสูงหลุดออกมากับน้ำเป็นจำนวนมากเพราะหลุดไปเป็นเวลานานกว่าจะรู้ว่าต้องทำการล้างแล้ว
เครื่องผลิตน้ำอ่อนนั้นถ้าจะพิจารณาในแง่คุณภาพของน้ำที่ผลิตได้ก็ต้องดูที่ค่าความกระด้างว่าค่าที่เราจะยอมรับได้นั้นมีค่าเท่าไร คุณภาพน้ำอ่อนที่ดีก็ต้องมีค่าความกระด้างน้อย ถังเรซิ่นที่เราจะผลิตน้ำอ่อนให้มีค่าความกระด้างเป็น 0 นั้นมันก็พอมีอยู่แต่ว่าทำได้ยาก โอกาสที่ความกระด้างจะหลุดออกมามักจะมีอยู่เสมอ ส่วนใหญ่เราจะคุมไว้ที่ค่าประมาณ 10 ppm. ก็ถือว่าใช้ได้แล้ว ถ้าหากว่าเราต้องการน้ำอ่อนที่มีความกระด้างเท่ากับ 0 ppm ก็ควรใช้ดับเบิ้ลซอฟ ก็คือการเอาน้ำอ่อนที่ผลิตได้จากถังเรซิ่นถังที่หนึ่งไปผ่านถังเรซิ่นถังที่สองอีกครั้งหนึ่ง เคยพบว่ามีโรงงานหนึ่งได้ตั้งค่าความกระด้างที่ต้องการไว้ที่ 0 ppm ทำให้ไซเคิลของการผลิตน้ำอ่อนสั้นมาก
ตัวอย่างเช่น แทนที่จะผลิตได้ 400 คิวต่อรอบ อาจจะได้เพียง 100 คิวต่อรอบเท่านั้น เนื่องจากเมื่อมีความกระด้างหลุดออกมาได้เพียงนิดเดียวก็จะทำให้น้ำยาที่เราหยดลงไปในน้ำตัวอย่างเพื่อการตรวจสอบค่าความกระด้างนั้นเปลี่ยนสีได้แล้ว ซึ่งทำให้เราต้องหยุดและทำการล้างย้อนถี่ขึ้น หากเป็นโรงอื่นที่ตั้งค่าความกระด้างที่ยอมรับได้ไว้สูงก็ยังสามารถผลิตน้ำอ่อนต่อไปได้จนค่าความกระด้างสูงถึงค่าที่ตั้งไว้เช่น 10 – 20 ppm แต่โรงงานนี้รีเจคแล้ว จึงต้องทำการล้างเรซิ่นแล้ว (เราสามารถตรวจสอบค่าความกระด้างของน้ำที่ผลิตได้โดยการหยดน้ำยาที่เราผสมสารเคมีไว้เพื่อให้มีการเปลี่ยนสีเมื่อน้ำตัวอย่างมีค่าความกระด้างสูงกว่าค่าที่เรากำหนดไว้ ซึ่งค่าความกระด้างที่เรากำหนดไว้นี้จะเป็นไปตามความเข้มข้นและชนิดของน้ำยาที่เราผสมไว้ใช้ตรวจสอบ) ซึ่งในเรื่องของประสิทธิภาพนั้นเราจะต้องพิจารณาที่ความสามารถในการผลิตน้ำอ่อน คือต้องดูไซเคิลของมันว่ารอบหนึ่งสามารถผลิตน้ำอ่อนได้ปริมาณมากน้อยเพียงใด และจะต้องดูปริมาณการใช้เกลือด้วยว่ามีการใช้มากน้อยเพียงใดด้วย โดยดูอัตราการใช้เกลือในหน่วยของ กิโลกรัมเกลือที่ใช้ / กิโลกรัมของความกระด้างหรือ ฮาร์ดเนสที่สามารถกำจัดออกไปได้ ในเรื่องความถี่ในการตรวจวัดนั้น จากในภาพซึ่งเป็นเส้นกร๊าฟจะเห็นว่าแกนนอนเป็นเวลา แกนตั้งเป็นปริมาณความกระด้าง ถ้าโรงงานทำการตรวจวัดวันละครั้งโดยส่งตัวอย่างน้ำไปวิเคราะห์ที่ห้องแลบก็มีโอกาสที่จะเจอสภาพที่ความกระด้างสูงหลุดออกมากับน้ำเป็นจำนวนมากเพราะหลุดไปเป็นเวลานานกว่าจะรู้ว่าต้องทำการล้างแล้ว
ตัวอย่างเช่น แทนที่จะผลิตได้ 400 คิวต่อรอบ อาจจะได้เพียง 100 คิวต่อรอบเท่านั้น เนื่องจากเมื่อมีความกระด้างหลุดออกมาได้เพียงนิดเดียวก็จะทำให้น้ำยาที่เราหยดลงไปในน้ำตัวอย่างเพื่อการตรวจสอบค่าความกระด้างนั้นเปลี่ยนสีได้แล้ว ซึ่งทำให้เราต้องหยุดและทำการล้างย้อนถี่ขึ้น หากเป็นโรงอื่นที่ตั้งค่าความกระด้างที่ยอมรับได้ไว้สูงก็ยังสามารถผลิตน้ำอ่อนต่อไปได้จนค่าความกระด้างสูงถึงค่าที่ตั้งไว้เช่น 10 – 20 ppm แต่โรงงานนี้รีเจคแล้ว จึงต้องทำการล้างเรซิ่นแล้ว (เราสามารถตรวจสอบค่าความกระด้างของน้ำที่ผลิตได้โดยการหยดน้ำยาที่เราผสมสารเคมีไว้เพื่อให้มีการเปลี่ยนสีเมื่อน้ำตัวอย่างมีค่าความกระด้างสูงกว่าค่าที่เรากำหนดไว้ ซึ่งค่าความกระด้างที่เรากำหนดไว้นี้จะเป็นไปตามความเข้มข้นและชนิดของน้ำยาที่เราผสมไว้ใช้ตรวจสอบ) ซึ่งในเรื่องของประสิทธิภาพนั้นเราจะต้องพิจารณาที่ความสามารถในการผลิตน้ำอ่อน คือต้องดูไซเคิลของมันว่ารอบหนึ่งสามารถผลิตน้ำอ่อนได้ปริมาณมากน้อยเพียงใด และจะต้องดูปริมาณการใช้เกลือด้วยว่ามีการใช้มากน้อยเพียงใดด้วย โดยดูอัตราการใช้เกลือในหน่วยของ กิโลกรัมเกลือที่ใช้ / กิโลกรัมของความกระด้างหรือ ฮาร์ดเนสที่สามารถกำจัดออกไปได้ ในเรื่องความถี่ในการตรวจวัดนั้น จากในภาพซึ่งเป็นเส้นกร๊าฟจะเห็นว่าแกนนอนเป็นเวลา แกนตั้งเป็นปริมาณความกระด้าง ถ้าโรงงานทำการตรวจวัดวันละครั้งโดยส่งตัวอย่างน้ำไปวิเคราะห์ที่ห้องแลบก็มีโอกาสที่จะเจอสภาพที่ความกระด้างสูงหลุดออกมากับน้ำเป็นจำนวนมากเพราะหลุดไปเป็นเวลานานกว่าจะรู้ว่าต้องทำการล้างแล้ว

t.man
Author & Editor
บริการHas laoreet percipitur ad. Vide interesset in mei, no his legimus verterem. Et nostrum imperdiet appellantur usu, mnesarchum referrentur id vim.
8/22/2554
น้ำอ่อน, ผลิตน้ำอ่อน, ล้างเรซิ่น